วันเสาร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

สมัยสาธารณรัฐที่ 1 République à la fois.


รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของฝรั่งเศสประกาศใช้ในปี 1793 ได้สถาปนารัฐใหม่ในรูปของสาธารณรัฐ (Republic) ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากความคิดของนักปรัชญาต่างๆ เป็นอันมากโดยเฉพาะอย่างยิ่ง รุสโซ (Jean Jaque Rousseau) ผู้เรืองนาม ซึ่งเท่ากับเป็นการเปิดฉากการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ประชาชนเข้ามามีบทบาททางการเมืองมากขึ้น ซึ่งเห็นได้จริงจากการจัดระเบียบการปกครองที่ให้ประชาชนเลือกตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติ และสภานิติบัญญัติเลือกคณะผู้บริหารประเทศ แต่ในทางปฏิบัติรัฐธรรมนูญนี้ ไม่ได้ถูกนำมาใช้ เนื่องจากการเกิดความไม่สงบขึ้นในประเทศ จนต้องยกเลิกไป และต้องประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในปี 1795 ซึ่งยึดหลักการแบ่งแยกอำนาจระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ ซึ่งอยู่ที่สภาผู้แทนราษฎร (Conseil des cinq cents) และวุฒิสภา (Conseil desAnciens) ซึ่งเป็นสภานิติบัญญัติในระบบสองสภา กับ คณะผู้บริหาร (Directoire) แต่ก็เกิดความขัดแย้งวุ่นวายขึ้นอยู่นั่นเอง จนกระทั่ง นโปเลียนโบนาปาร์ต (Napolean Bonaparte) เข้ายึดอำนาจ เป็นอันทำให้เกิดการยุติสมัยที่ฝรั่งเศสจัดการปกครองแบบสาธารณรัฐสมัยแรก 
De la France nouvelle constitution promulguée en 1793 a établi un nouvel état de la République (République), qui a été influencé par les idées des philosophes différents. Considérablement, en particulier Russo (Jean Jaque Rousseau), qui a célébré l'ouverture de la démocratie que le peuple a joué un rôle plus politique. Ce fut le cas du gouvernement d'organiser l'élection des membres du Congrès. Le Conseil législatif Select Committee sur l'administration. Toutefois, en pratique, cette Constitution. N'est pas utilisé. En raison de l'agitation dans le pays. Pour être annulé. Et une nouvelle Constitution, promulguée en 1795, les principes de séparation des pouvoirs entre le pouvoir législatif. La Chambre des représentants (Conseil des Cinq cents) et le Sénat (Conseil desAnciens), le Conseil législatif en Conseil exécutif du Conseil (Directoire), mais il la confusion des conflits est là jusqu'à ce que Napoléon Bonaparte Internet. (Napoléon Bonaparte) a pris le pouvoir doit être provoquer de mettre fin à l'entente, l'ère républicaine française.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น